#Update แก้บั๊กหลุมดำ Surveyor Pocket Tools

บั๊กหลุมดำ Build 780 ถ้าใครใช้ Surveyor Pocket Tools รุ่นก่อนหน้านี้คือ V 1.41 build 780 จะพบว่าเมื่อเปิดโปรแกรมมาแล้ว หน้าต่างเมนูหลักจะปรากฎออกมา พร้อมกับมีทูลส์ต่างๆให้เลือกใช้ เมื่อมีการเปิดใช้ทูลส์เช่น UTM-Geo Converter, Transform Coordinates…

Continue Reading →

ปฐมฤกษ์โปรแกรมเดสก์ท็อปภาษา Rust ด้วย Slint

หลังจากที่ได้ศึกษาภาษา Rust ในสามเดือน สี่เดือนที่ผ่านมาอย่างเอาจริงเอาจัง ถึงแม้จะรู้สึกว่ายากแต่ก็ฟันฝ่าจนจบหลักสูตรทั้งอ่านหนังสือ Rust Language Book และดูคลิปยูทูปเพื่อศึกษาและทบทวนจำนวน 14 ชั่วโมง แต่ดูจริงๆวันละไม่เกิน 30 นาทีหรือน้อยกว่านั้นเพราะต้องทดลองทำโจทย์ตามผู้สอนด้วย จบหลักสูตรยูทูปประมาณเดือนหนึ่งเต็มๆ โดยเฉพาะการดูคลิปนี้สอนได้ดีมาก ค่อยๆสอนไปอย่างไม่รีบร้อน อธิบายได้ละเอียดจนอะไรที่สงสัยตอนอ่านหนังสือก็มากระจ่างจากการดูคลิปนี้ การอ่านหนังสือเหมือนได้ทฤษฎีมาเปล่าๆ การลงมือปฏิบัติคือเป็นการบูรณาการว่าความรู้ที่ได้มานั้นเพียงพอจะเขียนโปรแกรมหนึ่งหรือไม่อย่างไร…

Continue Reading →

การตั้ง Heading จาก RTK GNSS สองเครื่องใน Hypack

ถือว่าเป็นโน๊ตกันลืมสำหรับผมก็แล้วกัน ในงาน Bathymetric survey เอง ถ้าเป็นเรือเล็กๆ เราจะใช้ RTK ตัวเดียวก็เอาอยู่ ถึงแม้ตอนอยู่นิ่งๆมันจะหมุนในหน้าจอ Hypack ก็ตาม เนื่องจากเรือขนาดเล็กคล่องตัว บังคับง่าย เลี้ยวง่าย แต่ถ้าเป็นเรือใหญ่ขึ้นมาการเปลี่ยนทิศทางจะทำได้ยากกว่า ช้ากว่า ถ้าเรือใบจักรเดียวก็ยิ่งช้า ถ้าใบจักรคู่อาจจะเร็วขึ้นมาหน่อย แต่สุดท้ายคนขับเรือสำรวจและช่างสำรวจก็อยากได้ทิศทางหรือ…

Continue Reading →

วิธีการออกแบบและรังวัดโครงข่าย GNSS ฉบับคนเดินถนน (ตอนที่ 3)

Leica Infinity vs CHC Geo Office เนื่องจากตอนที่สองผมได้นำ Leica Geo Office (LGO) มวยแทนที่อายุมากแล้วมาขึ้นเวที ตอนนี้ได้ Leica Infinity ต่อไปจะขอเรียกย่อๆว่า LI ที่สดกว่าขึ้นมาประกบกับ CHC Geo…

Continue Reading →

นำ Rust Geodesy ดำดิ่งสู่ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32

Rust Geodesy คือไลบรารีสำหรับงานยีออเดซี ตอนที่แล้วผมคอมไพล์โค้ดของ Rust ที่ใช้ไลบรารี Rust Geodesy หรือเรียกสั้นๆว่า RG ถึงแม้ผู้พัฒนา RG จะย้ำว่าไม่ใช่มาแทนไลบรารี PROJ ก็ตาม แต่ผมก็คิดว่าถ้าใช้ภาษา Rust การนำ RG มาใช้แทน…

Continue Reading →

Rust ภาษาแห่งกาลอนาคตที่มาถึงแล้ว กับการทดสอบไลบรารี Rust Geodesy (RG)

ผมศึกษาภาษาปาสคาลตอนเรียนอยู่มหาวิทยาลัยปีสี่อายุตอนนั้น 24 ปี เรียนภาษาปาสคาลด้วยตัวเองต่อมาใช้เขียน Traverse Pro ในขณะเดียวกันก็ศึกษา C ควบคู่ไปด้วยแต่ไม่ชำนาญ มาศึกษาไพทอนตอนอายุ 44 ปี ใช้ไพทอนเขียนโปรแกรมสำหรับ desktop ไว้หลายตัวเช่น Surveyor Pocket Tools สิบปีให้หลังอายุ 54…

Continue Reading →

ESP32 โครงการ #2 ส่งข้อมูลระดับน้ำ (Tide Station) ขึ้นคลาวด์ ThingSpeak ฟรี

โครงการที่สองยังเป็นโครงการใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์เหมือนเดิม ผมเลือกใช้ ESP32 แทนที่จะเป็น Pico W เหมือนโครงการแรก และโปรแกรมด้วยภาษาซี บอร์ด ESP32 ผลิตโดยบริษัท Espressif จากจีนแผ่นดินใหญ่ และในวงการไมโครคอนโทรลเลอร์เองก็ยอมรับว่าไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ได้รับการออกแบบมาอย่างดี ซีพียูเร็วแกนคู่ กินพลังงานต่ำ มีแรมที่เพียงพอสำหรับการรันโปรแกรมสำหรับงาน iOT…

Continue Reading →

Pico W โครงการ #1 ทดลองประดิษฐ์ Pico Echo Sounder จากทรานสดิวเซอร์ Airmar DT800

ผมว่างเว้นจากไม่ได้จับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ไปพักใหญ่หลายปี เมื่อสิบกว่าปีที่แล้วเคยจับ Arduino เขียนโค้ดด้วยภาษาซี ก็สนุกดีได้ความรู้พอสมควร มาในปัจจุบันเป็นยุคของไอโอที (iOT : Internet of Thing) เป็นยุคของอินเทอร์เน็ตของสิ่งของที่ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตของมนุษย์ สร้าง Echo sounder จากทรานสดิวเซอร์ Airmar DT800 มีโอกาสมาจับบอร์ด Raspberry…

Continue Reading →

เปิดตัวแอพ SurveyStar Quick TM

ในที่สุดก็ได้ฤกษ์เบิกโรงวันที่ 22 พค. 2567 (วันวิสาขะบูชา) ที่ผ่านผมได้ส่งแอพ SurveyStar Quick TM เพื่อให้กูเกิ้ลได้รีวิวและก็ผ่านเป็นที่เรียบร้อย โทรศัพท์มือถือแอนดรอยด์สามารถหาดาวน์โหลดกันได้ที่ SurveyStar Quick TM ช่องการติดต่อผู้พัฒนาแอพ ในกรณีมีการใช้มีปัญหาหรือหรือเจอบั๊กสามารถรายงานผ่านทางอีเมล์ในแอพได้ ที่แอพกดเมนูสามขีดแนวนอน จะเห็นเมลูลิ้นชักโผล่ออกมา เมื่อคลิกที่เมนู “Contact…

Continue Reading →

คำนวณพิกัดเส้นโครงแผนที่คลาดเคลื่อนต่ำแบบ Transverse Mercator (TM) ด้วยแอพ Quick TM (กำลังพัฒนา)

เส้นโครงความคลาดเคลื่อนต่ำแบบ TM ของโครงการรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน เส้นโครงแผนที่แบบคลาดเคลื่อนต่ำ (Low Distortion Projection: LDP) บ้านเราได้นำมาใช้หลายโครงการแล้ว ยกตัวอย่างคือรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน ซึ่งเป็นแบบเส้นโครงแผนที่แบบ TM ที่เป็นกรณีพิเศษที่นำทรงรีมาขยายขนาดทรงรี WGS84 ทำให้กลายเป็น Datum ตัวใหม่ไปโดยปริยาย ส่งผลให้การคำนวณยุ่งยากซับซ้อน…

Continue Reading →