นำ Rust Geodesy ดำดิ่งสู่ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32

Rust Geodesy คือไลบรารีสำหรับงานยีออเดซี ตอนที่แล้วผมคอมไพล์โค้ดของ Rust ที่ใช้ไลบรารี Rust Geodesy หรือเรียกสั้นๆว่า RG ถึงแม้ผู้พัฒนา RG จะย้ำว่าไม่ใช่มาแทนไลบรารี PROJ ก็ตาม แต่ผมก็คิดว่าถ้าใช้ภาษา Rust การนำ RG มาใช้แทน…

Continue Reading →

Rust ภาษาแห่งกาลอนาคตที่มาถึงแล้ว กับการทดสอบไลบรารี Rust Geodesy (RG)

ผมศึกษาภาษาปาสคาลตอนเรียนอยู่มหาวิทยาลัยปีสี่อายุตอนนั้น 24 ปี เรียนภาษาปาสคาลด้วยตัวเองต่อมาใช้เขียน Traverse Pro ในขณะเดียวกันก็ศึกษา C ควบคู่ไปด้วยแต่ไม่ชำนาญ มาศึกษาไพทอนตอนอายุ 44 ปี ใช้ไพทอนเขียนโปรแกรมสำหรับ desktop ไว้หลายตัวเช่น Surveyor Pocket Tools สิบปีให้หลังอายุ 54…

Continue Reading →

Pico W โครงการ #1 ทดลองประดิษฐ์ Pico Echo Sounder จากทรานสดิวเซอร์ Airmar DT800

ผมว่างเว้นจากไม่ได้จับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ไปพักใหญ่หลายปี เมื่อสิบกว่าปีที่แล้วเคยจับ Arduino เขียนโค้ดด้วยภาษาซี ก็สนุกดีได้ความรู้พอสมควร มาในปัจจุบันเป็นยุคของไอโอที (iOT : Internet of Thing) เป็นยุคของอินเทอร์เน็ตของสิ่งของที่ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตของมนุษย์ สร้าง Echo sounder จากทรานสดิวเซอร์ Airmar DT800 มีโอกาสมาจับบอร์ด Raspberry…

Continue Reading →

ออกแอพตัวที่สอง “SurveyStar Calculator” สำหรับแอนดรอยด์

ย้อนไปสู่พื้นฐานงานสำรวจ (Back to the basic) ผมเคยบอกกันไว้ในบล็อกในบทความก่อนหน้านี้ว่าได้พัฒนาแอพพื้นฐานงานสำรวจ ชื่อเดิมที่ตั้งกันมาคือ SuperCOGO จากนั้นเปลี่ยนชื่อเป็น SurveyStar COGO สุดท้ายแล้วเปลี่ยนชื่อมาเป็น SurveyStar Calculator ในที่สุด เพราะว่าตัวแอพเองมีมากกว่า COGO ภาษาและเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม (Dart &…

Continue Reading →

คอมไพล์และบิวท์ไลบราลี PROJ4 รุ่น 9.3.0 แบบเนทีฟสำหรับแอนดรอยด์

ตอนนี้น่าจะเป็นตอนที่ต่อจาก Dart & Flutter : เส้นทางขวากหนามกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟบนแอนดรอยด์ ครั้งก่อนผมคอมไพล์และบิวท์รุ่น 9.1.0 เพื่อนำไลบรารีมาใช้กับแอพ Ezy Geo Pro สำหรับแอนดรอยด์ ตอนนี้ผ่านมาหนึ่งปีผมต้องการอัพเดทไลบรารี PROJ4 รุ่น 9.3.0 ที่ตัวไลบรารีเองมีการแก้บั๊กซ์และเพิ่มฟีเจอร์ใหม่ๆ…

Continue Reading →

พัฒนาแอพตัวที่ 2 SurveyStar COGO

กำเนิดคำว่า “COGO” คำว่า “COGO” เป็นคำย่อรัสพจน์ที่เกิดจากการนำเอาอักษรย่อของชื่อเฉพาะหรือวลีมารวมกัน โดยคำว่า CO คำแรกย่อมาจาก Coordinate คำที่สอง GO ย่อมาจาก Geometry ย้อนไปในราวปี 1950 – 1960 ศาสตราจารย์ชารล์ แอล มิลเลอร์…

Continue Reading →

เปิดตัวแอพ “Ezy Geo Pro” บนไอโอเอส

คล้อยหลังการปล่อยแอพ Ezy Geo Pro บนแอนดรอยด์ได้หนึ่งเดือนกว่าๆ และแล้วผมก็พบกับความวิบากเลย สำหรับการเข็นแอพให้ผ่านการรีวิวจากแอปเปิ้ลสโตร์ มีทั้งหยุมหยิมและเรื่องใหญ่ เรื่องใหญ่ๆเช่นจะต้องมี Priavy policy จะต้องมี Term of use ให้ผู้ใช้อ่านได้สะดวก ต้องมีข้อความเตือนผู้ใช้ก่อนจะกด subscribe ผมส่งไปประมาณ 8…

Continue Reading →

เปิดตัวแอพแรก “Ezy Geo Pro” บนแอนดรอยด์

เปลี่ยนชื่อแอพ ในที่สุดผมก็เข็นครกดันเอาแอพรุ่นแรกสำหรับแอนดรอยด์ออกมาได้สำเร็จ “Ezy Geo Pro” เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2023 ที่ผ่านมาก ตัวแอพผ่านการเปลี่ยนชื่อมาแล้วหลายครั้งจาก “Thai Easy Geo” เป็น “A Ezy Geo” สุดท้ายเป็น “Ezy…

Continue Reading →

Dart&Flutter: ตกหลุมขวากกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟบน iOS

จะถือว่าเป็นตอนที่สองต่อจาก Dart & Flutter : เส้นทางขวากหนามกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟ ก็ได้ครับ หลังที่ผมปล้ำไลบรารี PROJ แบบเนทีฟตั้งแต่เขาซอร์สโค้ดภาษา C/C++ มาคอมไพล์ให้เป็นสถาปัตยกรรม Arm บนแอนดรอยด์ ไม่ง่ายครับประมาณเดินผ่านขวากหนามพอได้เลือดซิบๆ ตอนนี้มาถึงความโหดของการนำซอร์สโค้ดชุดเดียวกันมาคอมไพล์ให้เป็นสถาปัตยกรรม Arm เช่นเดียวกันแต่ไปรันบน…

Continue Reading →

Dart & Flutter : เส้นทางขวากหนามกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟบนแอนดรอยด์

เริ่มต้นจากศูนย์ที่ต้นซอยด้วยการพัฒนาแอพด้วยดาร์ทและฟลัตเตอร์ จากที่ยืนหันรีหันขวางแบบยืนงงว่าจะไปทางไหน ตอนนี้ภาษาดาร์ทได้เริ่มซึมซับเข้าสมองมาบ้างแล้ว เริ่มจากคลานตอนนี้พอจะเดินได้แบบเตาะแตะ เคยบอกไปว่าบนฟลัตเตอร์มีไลบรารี Proj4 ชื่อ Proj4Dart แต่มีปัญหาแปลงพิกัดได้คลาดเคลื่อนโดยเฉพาะระบบพิกัดรถไฟความเร็วสูงไทยจีนประมาณ 27 ซม. จนต้องถอยไปตั้งหลักว่าจะเอาไงดีสำหรับการจะใช้ไลบรารี PROJ บนแฟล็ตฟอร์มแอนดรอยด์และไอโอเอส ทางเลือกแรกใช้ปลั๊กอิน “Chaquopy” ทางแรกเท่าที่ลองคือเอาไลบรารีของไพทอนมารันบนฟลัตเตอร์ด้วย plug-in ชื่อ Chaquopy…

Continue Reading →