เนื่องจากมีฟีเจอร์นี้ใน Metashape ผมเลยสงสัยถึงประสิทธิภาพว่าจะได้สักขนาดไหน ก็เลยมาทดสอบกันในเบื้องต้นดูกัน การทดสอบจะใช้ทรัพยากรแบบมินิมอลประกอบไปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 4 เครื่อง เครื่องแรงพอประมาณ 2 เครื่อง เครื่องธรรมดาอีก 2 เครื่อง ต่อกันเป็นเน็ตเวิร์คโดยใช้การ์ดไวร์เลสที่เราใช้กันทั่วๆไปต่อกับตัวเราเตอร์ ก็เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เราต่อใช้งานในสำนักงานหรือที่บ้าน ที่พิเศษหน่อยในการทดสอบครั้งนี้คือข้อมูลจะถูกเก็บข้อมูลไว้บนเครื่อง NAS (Network Storage) จะมองว่าเป็นคอมพิวเตอร์เล็กๆอีกเครื่องหนึ่งก็ย่อมได้…
DroneLink DJI รุ่นทดสอบ จากที่ DJI ได้ปล่อย MSDKV5 มาสักพักหนึ่ง Dronelink เป็นเสือปืนไว ปล่อยแอพออกมาก่อนชื่อ Dronelink DJI แต่จนถึงบัดนี้ ปัญหาคือแอพมันแครชจนผมผู้ใช้อ่อนอกอ่อนใจ ทางผู้พัฒนาก็บอกว่า SDK ของ DJI มีบั๊กยังไม่ได้แก้ไขทำให้แอพแครชบ่อย…
ราชาแห่งโดรน DJI Phantom 4 Pro รุ่นแรกออกมาขายในปี 2559 ผ่านมาเจ็ดปี ยังเป็นดาวค้างฟ้าแห่งการบินถ่ายทำแผนที่ทางอากาศ เพราะอะไร วันนี้จะมาสาธยายกันให้ฟัง Mechanic Shutter เดือนพฤศจิกายน 2559 DJI ได้ปล่อยรุ่น Phamtom 4 Pro…
ลงทะเบียนกับ DroneLink และจ่ายเงินค่าบริการ จากที่ SDK (Software Development Kit) ของ DJI ปล่อยมาไม่นาน Dronelink เป็นเสือปืนไว ปล่อยแอพรุ่นเบต้ามาให้ทดลองได้ก่อนเพื่อน ทำให้ผมตัดสินซื้อแพ็คเกจแบบงานอดิเรก (Hobbyist) ไป 49.99 US$ ถ้าสมมุติไม่ล้มหายตายจากกัน…
ตลาดของโดรนถ่ายภาพ ปัจจุบันตลาดของโดรนถ่ายรูปถ่ายวิดีโอได้แยกเป็นสามตลาดใหญ่ (ตามทัศนะของผมเองครับ) แยกเป็น คอนซูเมอร์ (Consumer) ที่เป็นของผู้ใช้ส่วนใหญ่ที่เน้นสันทนาการถ่ายรูป ถ่ายวีดีโอ อีกตลาดของคือพรีเมียม (Premium) ที่เป็นของผู้ใช้เฉพาะทางเช่นการถ่ายรูป ถ่ายวีดีโอที่มือโปรมากยิ่งขึ้น ตัวที่กำหนดคือราคา ราคาของ consumer จะอยู่ที่ประมาณ 10000 – 50000 บาท…
ตอนที่ 1 ผมนำเสนอการปรุจุดเพื่อกำหนดจุดบังคับภาพถ่าย (Ground Control Point) แบบวิ่งควาย ที่อาศัยแรงกันเป็นหลัก ได้ไฟล์มาตั้งชื่อ “gcp_list_Computation_WGS84_UTM32N.txt” เอามาลงอีกครั้งด้านล่าง สร้างโปรเจคคำนวณ กลับมาที่ WebODM วิธีการใช้ติดตามตอนแรกได้ที่ ลิ๊งค์ นี้ คลิกที่ “+Add Project”…
สำหรับงานสำรวจทำแผนที่ นับว่าการบินโดรนเพื่อมาทำแผนที่ให้ได้พิกัดโลกที่ละเอียดนำไปใช้งานได้นั้น วิธีการดั้งเดิมคือใช้จุดบังคับภาพถ่าย (Ground Control Point – GCP) สมัยใหม่อาจจะใช้ RTK/PPK ก็ให้ความสะดวกมากขึ้นและประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่า มาลองดูกันว่าการใช้จุดบังคับภาพถ่ายเพื่อนำมาใช้ในโปรแกรมฟรี OpenDroneMap จะเป็นยังไง ความยากความง่าย ความสะดวกจะขนาดไหน การกำหนดจุดบังคับภาพถ่ายโดยใช้ GCP ถ้าผู้อ่านรุ่นราวคราวเดียวกับผม เคยเรียนวิชา…
ตอนที่ 1 ผมได้แนะแนววิธีการติดตั้ง OpenDroneMap ไปอย่างย่อและได้แนะนำลิ๊งค์ให้ไปดูกันต่อที่ละเอียดมาก มาในตอนนี้มาทดสอบวิธีการคำนวณจากชุดภาพตัวอย่าง ODMData ตามไปที่ลิ๊งค์นี้ จะเห็นข้อมูลภาพชุดตัวอย่าง (Dataset) ในฐานะที่ผมเป็นช่างสำรวจ ผมสนใจชุดภาพที่มี GCPs (Ground Control Points) และชุดภาพที่มีค่าพิกัดจาก RTK ติดมาที่แท็กหรือ Exif…
ช่วงสิบปีที่ผ่านมานี้ ต้องยอมรับว่างานสำรวจทำแผนที่ด้วยโดรนจะมาแรงมาก ตอนนี้เทคโนโลยียิ่งล้ำไปไกล รูปถ่ายที่ดีมากละเอียดมากจากเทคโนโลยีของกล้องถ่ายภาพที่ก้าวกระโดด ส่งผลให้งานคำนวณผลลัพธ์ได้ point cloud ที่ละเอียดมากตามไปด้วย ตอนนี้แนวโน้มงานทำแผนที่ด้วยโดรนจากยุคที่ต้องทำ Ground Control Points (GCPs) ในภาคสนาม กำลังจะเข้าสู่ยุคของ RTK/PPK GNSS เนื่องจากเครื่องรับสัญญาน GNSS มีขนาดเล็กลง…
จากลองของเป็นลองดี จากตอนที่แล้วเมื่อต้องลองของเอาโดรนเซลฟี่ DJI Spark มาบินทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ ตอนนี้เลยคำว่า”ลองของ”ไปไกลหลายช่วงตัวแล้ว เพราะแพ็ตช์หรือโมดิฟายด์แอพ DJI GO 4 เรียกง่ายว่าเป็นการ “ลองดี” ไปแล้ว เพื่อนำโดรนมาบินทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศโดยที่เปิดหรือใช้ฟีเจอร์ที่ซ่อนไว้ ตอนนี้ฟีเจอร์เทียบได้กับโดรนรุ่นใหญ่เช่น Phantom 4 Pro หรือ Mavic…