ขั้นตอนการติดตั้ง PostGIS/Postgresql บน Ubuntu Server

ความเป็นมา Postgresql อ่านออกเสียงว่า โพสเกรส เป็นระบบจัดการฐานข้อมูล RDBMS ซึ่งพัฒนาโดย PostgreSQL Global Development Group ในปี 2550 ลักษณะเป็น opensource มีลิขสิทธิ์แบบ BSD เป็นซอฟท์แวร์แบบ cross-platform ใช้ได้ทั้ง Windows,…

Continue Reading →

การนำเข้าข้อมูลจากไฟล์ CSV เป็นลายเส้น Polygon ใน QGIS

การนำเข้าข้อมูลจากไฟล์ CSV เป็นลายเส้น Polygon ก็ถือว่าเป็นทิปและทริคเล็กๆน้อยๆ ในกรณีสร้าง Vector ที่เป็นรูป Polygon จากข้อมูลดั้งเดิมที่เป็นไฟล์ Excel แล้วแปลงเป็น CSV นำมาสร้างเป็นรูป Vector ใน Quantum GIS ซึ่งโปรแกรมด้าน GIS…

Continue Reading →

วิธีสร้าง Debian Package สำหรับติดตั้งโปรแกรมบน Ubuntu

จากผู้ใช้สู่ผู้สร้าง ถ้าใช้ Linux เครือข่าย Debian  เช่น Ubuntu, Kubuntu การติดตั้งโปรแกรม ไลบรารีต่างๆ คงคุ้นเคยกับ package ที่มี extension เป็น deb กันพอสมควร ผมมีโปรแกรมที่พัฒนาด้วย lazarus อยู่หลายโปรแกรม…

Continue Reading →

ยานยนต์สะเทินน้ำสะเทินบก…เหมาะสำหรับสภาวะน้ำท่วม

น้ำท่วมปีนี้ของบ้านเราหนักหนาสาหัสจริงๆ สมณะชีพราห์ม อาณาประชาราษฎร์ เดือดร้อนไปทุกข์หย่อมหญ้า ไม่เลือกยากดีมีจน ความจริงเรารู้ปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมา ไม่ว่าจะมีพายุจะกี่ลูกก็ตาม เรื่องสำคัญคือเรื่องบริหารจัดการน้ำต่างหาก ที่จะผ่อนหนักให้เป็นเบา เขื่อนจะต้องพร่องน้ำเมื่อไหร่เท่าไหร่ตามปริมาณน้ำฝน สำหรับบ้านเรา ด้าน GIS เรามีแบบจำลองความสูงคือ DEM ที่น่าจะละเอียดพอ มีดาวเทียมธีออสที่สามารถเห็นภาพจากท้องฟ้าได้แบบ real time หรือดาวเทียมดวงอื่นๆเป็นสิบดวง…

Continue Reading →

FSArchiver เครื่องมือเขียน Image ของฮาร์ดดิสค์ มาแบบเงียบและทรงพลัง

FSArchiver เป็นเครื่องมือระบบในการจัดเก็บไฟล์ ไดเรคทอรีหรือแม้กระทั่งพาร์ทิชั่นแบบบีบอัดไปยังไฟล์ปลายทาง สามารถนำมาแบ็คอัพข้อมูลได้หรือเขียน image ของฮาร์ดดิสค์ได้เป็นอย่างดี (หรือที่ชอบเรียกกันว่าโคลนนิ่งฮาร์ดดิสค์หรือโคลนนิ่งพาร์ทิชั่น) และในภายหลังสามารถนำไฟล์มา restore ได้ ความสามารถที่เหนือกว่า Partimage ที่ผมเคยเขียนไปแล้วมีหลายอย่าง ที่สำคัญมากคือสามารถอ่านและเขียนระบบไฟล์ ext4 ของลินุกซ์ได้ และอีกอย่างคือสามารถอ่านและเขียนจากพาร์ทิชั่นต้นทางไปยังพาร์ทิชั่นปลายทางที่มีขนาดต่างกันได้ ตราบเท่าที่ขนาดพาร์ทิชั่นปลายทางยังมีเนื้อที่พอให้เขียน สนใจ FSArchiver…

Continue Reading →

คอมไพล์และติดตั้ง Lazarus ด้วย Qt widgets บนลีนุกซ์ KDE

KDE ปกติผมเป็นแฟนของ Gnome มากกว่า KDE ตั้งแต่ KDE ออกรุ่น 4 เป็นต้นมามีการเปลี่ยนแปลงไปมาก แรกๆออกรุ่น 4 มารู้สึกจะได้ก้อนอิฐมากกว่าดอกไม้ เสียงบ่นกันขรมทีเดียวแต่รุ่นหลัง 4.5 ดีขึ้นผิดหูผิดตาคือไม่ค่อยตุกติกใช้ยากเหมือนก่อนหน้านี้ ก็ลองต้องมาดูกันใหม่ ประเภทสวย เนียน ดีอะไรประมาณนั้น…

Continue Reading →

ระบบการวัดพิกัด (Positioning) ใต้ทะเล

Underwater positioning and navigation systems ก็ขอแปลตรงตัวก็แล้วกันว่า ระบบการวัดพิกัดใต้ทะเล งานที่เราเรียกกันว่างาน Offshore ได้แก่งานสำรวจหา oil & gas หรือสำรวจเพื่อการก่อสร้างเช่นการวางท่อแก็ส การวางสายไฟฟ้า การวางสาย Fiber optic การติดตั้งแท่นขุดเจาะน้ำมัน หรืองานสำรวจทรัพยากรทางทะเล…

Continue Reading →

การติดตั้งและการใช้งาน Firebird บน Ubuntu/Ubuntu Server

ฐานข้อมูล Firebird Firebird ในฐานะที่เป็นฐานข้อมูล RDBMS จำพวกเดียวกันกับ MySQL, Postgresql ฟรีและเปิดโค๊ดเช่นเดียวกัน ที่สำคัญคือทุกตัวนั้น cross-platform แต่ถ้าดูจำนวนผู้ใช้แล้ว MySQL กินขาดเอาแค่ใช้กับ Web Application ก็ยังไม่มีฐานข้อมูลไหนมาเทียบเคียงได้ จำนวนผู้ใช้ Firebird เป็นรอง…

Continue Reading →

OpenGPSX เข้าไปอยู่ที่ Softpedia ให้ Download ได้ง่ายๆ

OpenGPSX OpenGPSX คือ component ที่ผมพัฒนาด้วย Lazarus เพื่อเชื่อมต่อกับ GPS ในเบื้องต้นผ่านทาง Serial port จุดประสงค์เพื่อให้โปรแกรมเมอร์ท่านอื่นสามารถนำ component ไปใช้งานในโปรแกรมที่ต้องการต่อกับ GPS ได้ง่ายๆ บ้านเดิมคือ Sourceforge เดิมทีโครงการนี้ผมเปิดโค๊ดไว้ที่นี่ SourceForge…

Continue Reading →

LazReport & Fortes Report สองสิงห์เครื่องมือจัดทำ Report สำหรับ Lazarus

หายหน้าหายตาไปนานทีเดียว จนคนสงสัยว่าจะเลิกเขียน blog ไปแล้วยัง ก็ยังเขียนอยู่แต่เรื่องอาจจะไม่ถี่เหมือนที่ผ่านมาครับ สำหรับแฟนๆ Lazarus ที่ต้องเกี่ยวข้องกับ Database ถ้าเป็นตัวทำ report ที่ฟรีก็ต้องนึกถึงสองตัวนี้ ผมมีโอกาสใช้ทั้งคู่ บางโปรแกรมก็ใช้ทั้งสองอย่าง ตามลักษณะข้อดี ข้อด้อยที่ไม่เหมือนกัน ก็มาเปรียบเทียบดูกันว่าสอง component นี้จะเป็นอย่างไร LazReport…

Continue Reading →