แนะนำการใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus

ข้อดีของ SQLite พัฒนาโดย D. Richard Hipp ด้วยภาษา C จำนวนโค๊ดรวมๆแล้วประมาณสามหมื่นกว่าบรรทัด ซึ่งผู้พัฒนาได้รับคำชมว่าเป็นผู้ที่เข้าใจในวิทยาการด้านคอมพิวเตอร์อย่างลึกซึ้ง สำหรับ SQLite น่าจะเป็นฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันมากที่สุดในโลก เนื่องจาก เล็ก เร็ว แรง และที่สำคัญมากคือ เสถียร และข้อดีอีกที่ไม่พูดไม่ได้คือ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณระยะทางและอะซิมัท (Distance/Azimuth) บน Ellipsoid ด้วย Lazarus (ตอนที่ 2)

ตอนที่แล้วได้แนะนำสูตรที่จะใช้ในการคำนวณและแสดงยูนิต GeodesicCompute พร้อมทั้งยูนิต GeoEllipsoids ที่เคยแสดงไปแล้วเรื่องการแปลงค่าพิกัดระหว่าง UTM และ Geographic เปิด Lazarus คลิกที่เมนเมนู Project > New Project… คลิกเลือก Application คลิก OK ตั้งค่า…

Continue Reading →

เทคนิคการใช้โปรแกรมแปลงค่าพิกัด GeoCalc

ใน Blog ของ WordPress ที่ผมเขียนอยู่หา Theme ที่ถูกใจยาก ไม่ใช่เรื่องความสวยงามแต่เป็นขนาดของคอลัมภ์ ส่วนใหญ่จะแคบมากพอวางรูปแล้วจะต้องย่อมากๆ และอีกเรื่องคือวาง source code แล้วจะโดนปัดบรรทัดลงทำให้ดู code ยาก งง ตอนนี้ก็เปลี่ยนไปเปลี่ยนมายังไม่ถูกใจสักที ผมเห็นคน search เข้ามาใน…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณระยะทางและอะซิมัท (Distance/Azimuth) บน Ellipsoid ด้วย Lazarus (ตอนที่ 1)

ตอนก่อนหน้านี้ ผมเขียนโปรแกรมแปลงพิกัดระหว่าง UTM และ Geographic (Lat/Long) และและถ้าไม่เขียนการหาระยะทางและอะซิมัท (เมื่อกำหนดจุด Latitude, Longitude ให้สองจุด) ก็ดูจะขาดอะไรไปอย่าง Model ที่ใช้ในการคำนวณ สัณฐานหรือรูปทรงที่ใช้แทนโลก ใช้กันอยู่ 2 แบบ คือ ทรงกลม(Spherical)และทรงรี(Ellipsoid)…

Continue Reading →

การสร้าง (Create/Generate) DEM จาก DTM (3D Points) ด้วย Global Mapper

ตัว Global Mapper สำหรับความรู้สึกผมนั้นดูเรียบง่ายและทรงพลัง การสร้าง DEM (Digital Elevation Model) จากโปรแกรมดังๆอย่าง Erdas Imagine หรือ ArcGIS ยังดูยากไปนิด มาดูกันว่า Global Mapper นั้นเรียบง่ายเพียงใด Global…

Continue Reading →

การติดตั้ง Lazarus แบบ Subversion บน Windows

Blog ตอนก่อนผมเขียนเรื่องติดตั้ง lazarus แบบ subversion บน linux ละเอียดพอสมควร ติดค้างเรื่องติดตั้ง lazarus บนวินโดส์ และก็เหมือนเดิมผมยังแนะนำให้ใช้ subversion เหมือนบนลินุกซ์ จะได้ version ที่ update ตลอด ไม่ต้องห่วงเรื่อง…

Continue Reading →

การคำนวณการรังวัด GPS ด้วยวิธี Online service (ตอนที่ 2)

ตอนที่ 1 ผมแนะนำการใช้บริการการคำนวณรังวัด GPS บนอินเทอร์เน็ต(GPS Online Service)  ของ Natural Resources Canada (NRCan) ต่อไปผมจะใช้บริการ website ของ Australia หน่วยงานที่ให้บริการเรียกว่า AUSLIG Online GPS…

Continue Reading →

การคำนวณการรังวัด GPS ด้วยวิธี Online service (ตอนที่ 1)

ชีวิตของ Surveyor เคยบ้างไหมที่ไปรังวัด GPS เพื่อขยายหมุด แต่ไม่สามารถหาหมุด GPS มาเป็น Base Station ได้ ที่ผมเจอมาก็คือที่เมืองทวาย พม่า เมืองทั้งเมืองมีหมุดระดับที่อังกฤษมาสร้างไว้ตอนพม่าเป็นอาณานิคมเพียงหมุดเดียว GPS Online Service ในสถานการณ์ที่เราไม่สามารถหาหมุดหลักฐาน GPS เพื่อมาเป็นหมุด…

Continue Reading →

ติดตั้ง Lazarus แบบ Subversion บน Linux อย่างไรให้สำเร็จ

ผมเชื่อว่าคงมีหลายท่านอยากจะใช้หรือทดลอง Lazarus ดู ส่วนใหญ่เลือกจะติดตั้งจาก package เช่น Debian หรือ RPM ซึ่งจะได้ version ใหม่กว่าการใช้ Synaptic อยู่เล็กน้อย แต่เมื่อใช้เปิดโปรแกรม lazarus มา load package (.lpk)…

Continue Reading →