หนทางข้างหน้าของ Traverse Pro ที่พัฒนาด้วย Lazarus (ตอนที่ 1)

ทำไมต้องพัฒนาและปรับปรุง โปรแกรมคำนวณวงรอบ (Traverse Pro) สำหรับช่างสำรวจ/ช่างโยธา ที่ผม post ไว้ใน blog และเปิดให้ดาวน์โหลด ก็มีคนเข้ามาดูและดาวน์โหลดไปทดลองใช้กันพอสมควร ถ้าโปรแกรมจะมีประโยชน์บ้างก็ขอเป็นวิทยาทานให้กับช่างสำรวจ/ช่างโยธาในเมืองไทยเรา ผมใช้ Ubuntu อยู่หลายปีก็รู้สึกว่าชอบ ก็คงเหมือนแฟนๆ Ubuntu ท่านอื่นๆ ที่รัก Ubuntu…

Continue Reading →

SAGA GIS สุดยอดโปรแกรมวิเคราะห์ Terrain

SAGA GIS (System for Automated Geoscientific Analyses) ดูชื่อโปรแกรมแล้วผมค่อนข้างงงเล็กๆ สำหรับชื่อ Geoscientific เปิดดิคไม่พบน่าจะเป็นการผสมกันระหว่าง Geo กับ Scientific รวมๆแล้วน่าจะว่าหมายถึง วิทยาศาสตร์ธรณ๊ รวมๆแล้วชื่อโปรแกรมน่าจะเป็นโปรแกรมวิเคราะห์ด้านวิทยาศาสตร์ธรณี อะไรประมาณนี้ สนใจเข้าไปดูได้ website…

Continue Reading →

การสืบค้น (Query) ข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย Spatialite (ตอนที่ 1)

ตอนที่แล้วผมเสนอเรื่องการแปลงไฟล์ CSV เป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ หรือเรียกกันว่า Spatial converter ฟีเจอร์ตัวนี้สามารถทำได้ง่ายๆในโปรแกรมด้าน GIS เช่น MapWindow (ข้อสำคัญคือในข้อมูล CSV นั้นต้องมีคอลัมน์ X, Y เก็บค่าพิกัดด้วย) แต่ใน spatialite ใช้คำสั่ง query…

Continue Reading →

แปลงข้อมูล CSV เป็นฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย Spatialite

ข้อมูลทดสอบ เขียนเรื่อง spatialite มา 2-3 ตอนแล้ว มาดูในตอนนี้สมมติว่ามี text file ที่เป็นรูปแบบ csv คั่นฟิลด์หรือคอลัมน์ด้วยเครื่องหมายคอมมา (,) ในข้อมูลมีคอลัมน์ค่าพิกัด X และ Y ด้วย เราจะมาแปลงเป็นฐานข้อมูลของ spatialite…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 6 ตอนจบ)

เครื่องรับสัญญาณ GPS ที่จะนำมาทดสอบ คงจะเป็นตอนสุดท้ายแล้ว มาลองทดสอบด้วยอุปกรณ์จริงๆ เพื่อทดสอบการรับข้อมูลที่เป็น NMEA จากเครื่องรับ GPS ก่อนหน้านี้ผมเคยลองด้วย GPS Trimble 5700 ด้วยการใช้สาย Serial ต่อที่ Port 2 ของเครื่อง (เครื่องรุ่นนี้มีช่องต่ออยู่…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 5)

ทดสอบ OpenGPSX บน Ubuntu มาลองทดสอบกันบน Ubuntu Lucid ก็เริ่มจากดาวน์โหลดคอมโพเน็นต์ มาก่อน ทำการติดตั้งเหมือนในวินโดส์ ที่ผมกล่าวไปแล้ว เนื่องจากโค้ดของ Lazarus เป็น cross-platform โค้ดที่ใช้ใน Windows ก็สามารถนำมาใช้ได้เลยใน Linux แต่ติดขัดตรงโปรแกรมที่จะใช้ทดสอบ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 4)

OpenGPSX component on SourceForge ผมได้นำ component ตัวนี้ไปใส่ใน SourceForge.net เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการตัวที่ update ก็ไปดาวน์โหลดกันได้เลยครับ หน้าตาของ OpenGPSX บน sourceforge ก็ประมาณดังรูปด้านล่าง จากตอนที่แล้วเราทำการแปะคอมโพเน็นต์ลงบนฟอร์ม เพื่อทดสอบอย่างง่าย ต่อไปจะเปิด…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 3)

ทำความเข้าใจเรื่อง Baud rate Blog ที่ผมเขียนเรื่องนี้คงจะมีหลายภาค ตอนนี้ภาค 3 จะมาเริ่มโปรแกรมมิ่งกัน เพื่อนำคอมโพเน็นต์ OpenGPSX มาใช้งาน ก่อนจะไปต่อผมขอพูดเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เกี่ยวกับเรื่อง Baud rate กับ NMEA บางประโยคเช่น $GPGSV การต่อเครื่อง…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 2)

คอมโพเน็นต์ OpenGPSX Concept ของ component คือผู้พัฒนาโปรแกรมทั่วๆไปสามารถนำ component ของผมไปใช้งานได้ง่าย ใช้เวลาน้อย โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง GPS มาก ผมเขียนคอมโพเน็นต์ตัวนี้ขึ้นมาเพราะผมใช้ GPS บ่อย ตั้งแต่เครื่องมือถือทั่วๆไปเช่น Garmin หรือบน Pocket PC…

Continue Reading →

มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 2

ก่อนจะไปต่อผมอยากจะพูดถึงงาน FOSS4G 2010 มีการ present เรื่อง  “SpatiaLite, the Shapefile of the Future?” ตั้งเครื่องหมายคำถามไว้ด้วยว่า Spatialite จะเป็น shapefile ในอนาคตหรือไม่ ซึ่งที่ผ่านมาก็หลายปีแล้วครับ ที่ฐานข้อมูลแบบ Geodatabase…

Continue Reading →