ขอพักเรื่องโปรแกรมมิ่งสักตอนเพราะว่า เขียนเกี่ยวกับเรื่องโปรแกรมมิ่งต้องใช้พลังความคิดมาก นอกจาก library “GDAL” ที่ผมกำลังเขียนถึง ซึ่งมีแง่มุมให้เขียนเกี่ยวกับการใช้งานได้เป็นร้อยๆตอนเลยละครับ ถ้ามีแรงกายและใจขนาดนั้น ถ้ายังจำกันได้คือ GeographicLib ของ Charles Karney ที่เคยอ้างอิงถึงไปแล้ว มีเรื่องอีกเรื่องที่น่าสนใจคือ การคำนวณ Geoid Height ซึ่งดูโค๊ดของ Charles…
รูปด้านล่างแสดงตัว object ที่วางลงบนฟอร์มประกอบด้วย 2 combobox เก็บ datum ซึ่งผมจำกัดไว้แค่เท่าที่ประเทศไทยใช้กัน ส่วนตัวอื่นๆ ก็ไม่มีอะไรมาก มี Textbox จำนวน 4 ตัวสำหรับให้ผู้ใช้โปรแกรมกรอกค่าพิกัดที่ต้องการแปลง และ Label จำนวน 4 ตัวเพื่อแสดงค่าพิกัดที่แปลงแล้ว…
ตอนก่อนนี้ ผมเขียนโปรแกรมทดสอบไลบรารี GDAL/OGR ด้วยการเปิดไฟล์รูปแล้วอ่าน Metadata, ระบบพิกัด ตลอดจนแปลงฟอร์แม็ตของไฟล์รูป จะเห็นถึงความสามารถของไลบรารี ที่เตรียมฟังก์ชั่นทุกสิ่งทุกอย่างครอบคลุมด้าน Geospatial ไว้พร้อมสรรพ และไม่ต้องแปลกใจที่โปรแกรมดังๆ เช่น Google Earth, ArcGIS, Quantum GIS ต่างก็นำไปใช้ ดูชื่อโปรแกรมที่นำไลบรารีไปใช้ …
SRTM DEM SRTM (Shuttle Radar Topography Mission) DEM ของ NASA จัดทำโดย NASA เปิดให้บริการฟรีตั้งแต่ปี 2003 ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 80% ของพื้นที่โลก ขนาด pixel ของ…
ช่วงเดือนธันวาคม 2009 ส่งท้ายปีต้องติดภารกิจของบริษัทฯ เข้าไปพม่าที่เมืองมะริดอยู่ 2 ครั้ง ทำให้ไม่มีเวลาเขียน blog เลย ปีนี้ 2010 คิดว่าเกือบครึ่งปีที่จะต้องไปอยู่ที่มะริดและทวาย ของประเทศพม่า ซึ่งเป็นเมืองปิดมานาน ไม่รับนักท่องเที่ยว คนที่มีโอกาสเข้าไปโดยเฉพาะคนไทย มีน้อยมาก สองเมืองนี้ตอนนี้น่าอยู่มาก เงียบ สงบ…
ตอนก่อนผมแนะนำไลบรารี GDAL/OGR ไปพอสมควร ตอนนี้มาเริ่มลองโปรแกรมมิ่งดูกัน โปรแกรมทดสอบผมดัดแปลงจากโค๊ดภาษาซี เป็น Lazarus ดูรายละเอียดโค๊ดภาษาซีได้ที่นี่ http://www.gdal.org/gdal_tutorial.html ส่วนไลบรารีส่วนมากแปลงจาก VB6 Download sourcecode สนใจก็ดาวน์โหลดได้ที่นี่ GDALTest1.zip ไลบราีรีที่ผมเขียน wrapper มามีทั้งหมด 11 ไฟล์…