จากบทความที่แล้ว ผมได้พาย้อนรอยไปดูระบบพิกัดที่ใช้ในโครงการรถไฟความเร็วสูงไทยจีน และทางดร.ไพศาล ได้มาไขความกระจ่างว่าวิธีการออกแบบในโครงการนี้เป็นการขยายรูปทรงรีแบบอัตราส่วน (Scale reference ellipsoid) ตามค่าความสูง project plane ที่ทางผู้ออกแบบโครงการนี้ให้มา โดยที่ค่า K0 = 1.0 เป็นค่าคงที่ พร้อมได้เอื้อเฟื้อโค้ดไพทอนสำหรับการแปลงค่าพิกัดมาให้ดูเป็นตัวอย่าง ผมขอขอบคุณมา ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง…
Geographic Calculator สืบเนื่องจากตอนก่อนหน้านี้ผมได้นำเสนอโปรแกรมแปลงพิกัด Geographic Calculator แบบไม่ได้ใช้ไลบรารีช่วยเรื่อง User Interface โปรแกรมมีลักษณะง่ายๆ เปิดมาเจอเมนูเลือกลักษณะที่จะคำนวณ จากนั้นโปรแกรมจะถามค่าพิกัดที่ต้องการแปลงแล้วคำนวณให้ ข้อดีคือใช้ง่าย ข้อเสียถ้าป้อนข้อมูลผิดพลาด จะย้อนกลับไม่ได้ ต้องเดินหน้าผิดไปจนจบ แล้วค่อยย้อนกลับมาอีกที เปลี่ยนรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้ด้วยไลบรารี MyLib ไลบรารี MyLib…
ในฐานะช่างสำรวจในย่าน AEC บ้านเรา ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับระบบพิกัดที่ส่วนใหญ่ใช้เส้นโครงแผนที่ Transverse Mercator กันส่วนใหญ่ แต่มาเลเซียนั้นต่างออกไปเนื่องจากมีพื้นที่ที่ยาวเฉียงๆ ทั้งสองพื้นที่คั่นด้วยทะเลจีนใต้ พื้นที่แรกอยู่บนเกาะบอร์เนียวอีกพื้นที่หนึ่งติดกับประเทศไทย ทางมาเลเซียใช้เส้นโครงแผนที่ Oblique Mercator ซึ่งเป็นเส้นโครงแผนที่ค่อนข้างซับซ้อนกว่าอันอื่น เรามาลองไปทัศนศึกษาที่หรัฐอเมริกาดูกัน สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศใหญ่ มีระบบพิกัดและเส้นโครงแผนที่ที่หลากหลายมาก ในฐานะช่างสำรวจพอจะเป็นความรู้ประดับบ่ากันไว้นิดๆหน่อยๆ ไม่ถือว่าเหลือบ่ากว่าแรงจนต้องแบกหาม มาทัศนาผ่านทางโปรแกรมแปลงพิกัด Transform Coordinate…
Surveyor Pocket Tools ก่อนหน้านี้ได้เพิ่มพื้นหลักฐาน (Datum) ของเพื่อนบ้าน AEC ของเราไปแล้วคือ สปป.ลาว (Lao National Datum 1997) กับเวียดนาม (VN-2000) มาตอนนี้มาอัพเดทของเมียนมา (Myanma Dtum 2000) ประเทศเพื่อนบ้านของเรา…
Vietnam 2000 Datum (VN-2000) ผมมีโอกาสได้จับงานเอกสารงานในกรุงโฮจิมินท์ของเวียดนาม (แต่ยังไม่ได้ไปทำหรอกครับ) ซึ่งในงานนั้นมีงานสำรวจอ้างอิงถึงระบบพิกัดของเวียดนามคือ VN-2000 ที่งานนี้จะต้องใช้อ้างอิงระบบพิกัดนี้ ก็เลยไปค้นหาในอินเตอร์เน็ตก็ได้พบใบประกาศใช้ระบบพิกัดนี้ ของทางราชการของเวียดนามคือ Ministry of Natural Resources and Environment (MONRE) ผมดาวน์โหลดมาแต่กลับไปค้นหาลิ๊งค์ต้นฉบับไม่เจอ ถ้าต้องการดูก็ตามลิ๊งค์นี้ครับ ผมเห็นบทความของของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยของเวียดนามท่านนี้ได้พูดถึงระบบพิกัด VN-2000 ของเวียดนามกับ…
File Transform Coordinates โปรแกรมแปลงพิกัดข้ามพื้นหลักฐาน Transform Coordinates ที่ผมนำเสนอมาก่อนนั้น แปลงพิกัดได้ทีละจุด อาจจะไม่สะดวกถ้าผู้อ่านมีจุดตั้งแต่ 5-10 จุดขึ้นไป ทางออกผมเลยเขียนโปรแกรมเพิ่มอีกตัวเข้ามา โดยอ่านไฟล์พิกัดที่ต้องการแปลง โดยที่ไฟล์นั้นจะเก็บไว้ในรูปแบบ CSV ที่มีตัวคั่นเป็นเครื่องหมายคอมม่า ขอตั้งชื่อโปรแกรมเป็น File Transform Coordinates โดยใส่คำว่า…
พื้นหลักฐาน Lao National Datum 1997 พื้นหลักฐานของสปป.ลาว นี้ได้ดำเนินการโดย National Geographic Department ของ สปป.ลาว โดยเริ่มต้นรังวัดปรับปรุงพื้นหลักฐานด้วยหมุดโครงข่าย GPS แห่งชาติ ในปี 2006 และคำนวณเสร็จสิ้นในปี 2007 และประกาศใช้เป็นทางการในภายหลัง…
ตอนที่ 1 ผมได้แนะนำโปรแกรมย่อย UTM – Geo Converter สำหรับแปลงพิกัดบนพื้นหลักฐาน WGS84 มาถึงตอนนี้จะมาดูโปรแกรมแปลงพิกัดข้ามพื้นหลักฐาน (datum) กันว่าเป็นอย่างไร จากรูปด้านล่าง ดับเบิ้ลคลิกที่โปรแกรมที่สอง “Transform Coordinates“ เปิดโปรแกรมมาจะมีช่อง input/output ด้านซ้ายและด้านขวา ตรงกลางจะมีไอคอนลูกศรแสดงการแปลงพิกัดจากซ้ายไปขวาหรือจากขวามาซ้ายก็ได้…
ใน Blog ของ WordPress ที่ผมเขียนอยู่หา Theme ที่ถูกใจยาก ไม่ใช่เรื่องความสวยงามแต่เป็นขนาดของคอลัมภ์ ส่วนใหญ่จะแคบมากพอวางรูปแล้วจะต้องย่อมากๆ และอีกเรื่องคือวาง source code แล้วจะโดนปัดบรรทัดลงทำให้ดู code ยาก งง ตอนนี้ก็เปลี่ยนไปเปลี่ยนมายังไม่ถูกใจสักที ผมเห็นคน search เข้ามาใน…
จากตอนที่ 2 จะเห็นโค๊ดที่ผม post 2 unit คือ GeoEllipsoids.pas และ GeoCompute.pas ถ้าสนใจก็ copy ไปวางที่ Text Editor แล้ว Save ชื่อไฟล์ตามที่ผม เราจะเริ่มต้นสร้าง New…