มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 2

ก่อนจะไปต่อผมอยากจะพูดถึงงาน FOSS4G 2010 มีการ present เรื่อง  “SpatiaLite, the Shapefile of the Future?” ตั้งเครื่องหมายคำถามไว้ด้วยว่า Spatialite จะเป็น shapefile ในอนาคตหรือไม่ ซึ่งที่ผ่านมาก็หลายปีแล้วครับ ที่ฐานข้อมูลแบบ Geodatabase…

Continue Reading →

แจ่มจริงๆ Ubuntu Lucid กับสารพันโปรแกรมต่างๆที่ผมใช้งาน

Ubuntu Lucid หลังจากกลับจากต่างประเทศ ผมเพิ่งจะมีโอกาสได้อัปเกรด Ubuntu จาก Karmic เป็น Lucid ด้วย Update Manager ซึ่งก่อนหน้านี้การเปลี่ยนเวอร์ชั่น ต้องอาศัยการ install ใหม่ทั้งหมดทำให้เสียเวลาไปมาก เมื่อใช้ Update Manager ก็เสียเวลาดาวน์โหลดไฟล์ไม่นานนัก…

Continue Reading →

มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 1

ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ที่กำลังดีวันดีคืน แต่ฐานข้อมูลจะดีแค่ไหนก็ตาม แต่ถ้า Application ทั้งหลายไม่สนับสนุนก็ยากที่จะอยู่ได้ หันมาดู Spatialite ตอนนี้ใน Quantum GIS สนับสนุนฐานข้อมูลนี้ในระดับที่พอใช้ได้ ก็คือสนับสนุนในระดับที่จำกัดที่ผมพบมาคือจะมองข้อมูล BLOB (Binary Large Object) ของ spatialite ซึ่งเป็นรูปถ่ายเป็น NULL…

Continue Reading →

Landserf อีกโปรแกรมดู Terrain เด่นด้านการวิเคราะห์ภูมิประเทศ (Terrain Analysis) ตอนที่ 2

จากตอนที่ 1 จะเห็นว่าการแปลงจาก DEM เป็น TIN นั้นไม่น่าประทับใจนักถ้าจะได้ผลลัพธ์ที่ละเอียด โปรแกรมจะใช้เวลา generate นานมาก แต่อย่างไรก็ตามผู้อ่านจะลองก็ได้ การวิเคราะห์ Terrain การวิเคราะห์ Slope มาดูฟีเจอร์เด่นของ Landserf กัน ผมจะลองเพียงบางฟีเจอร์ที่เด่ินๆเท่านั้นมาดูตัวแรกคือ การวิเคราะห์ที่อยู่ในหมวดหมู่…

Continue Reading →

Landserf อีกโปรแกรมดู Terrain เด่นด้านการวิเคราะห์ภูมิประเทศ (Terrain Analysis) ตอนที่ 1

ห่างหายไปพอสมควรครับ ผมเพิ่งกลับจากนอร์เวย์ ดินแดนพระอาทิตย์เที่ยงคืน  ตื่นตาตื่นใจเพราะเป็นครั้งแรกที่มาประเทศในย่านแสกนดิเนเวีย เป็นประเทศที่ติดอันดับค่าครองชีพสูงที่สุดในยุโรป ติดอันดับประเทศที่น่าอยู่ที่สุดหลายปีซ้อน แต่นอร์เวย์ประชากรน้อยมากไม่ถึง 5 ล้านคน มองดูนอร์เวย์แล้วย้อนมาดูเมืองไทย ต่างกันเหลือเกิน เมืองไทยวุ่ยวายเหลือเกินไม่รู้จักจบ ที่นั่นผมพบว่าสงบเงียบ จนบางครั้งหาคนไม่เจอ นี่ฮาจริงๆเลยนะ ผมอยู่ที่เมือง Halden ห่างจากเมืองหลวง Oslo ประมาณ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 1)

ขออภัยที่เรื่อง “การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ตอน NMEA Parser ด้วย Lazarus (ภาค 1)” ทิ้งช่วงไว้นาน ผมจะเขียนเนื้อเรื่องต่อแต่ขอเปลี่ยนชื่อเป็น “การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 1)” เพื่อให้สัมพันธ์กับคอมโพเน็นต์ที่ผมพัฒนาขึ้นมา ขอให้ทราบตามนี้ครับ…

Continue Reading →

Terrain Bender โปรแกรมแสดง DEM ที่บรรเจิดสุดๆ

ช่วงไม่นานมานี้ผม search ใน google พบกับโปรแกรมแสดงการจำลอง DEM เป็น 3D คือโปรแกรม Terrain Bender เห็นโปรแกรมต้องทึ่งในไอเดีย ครั้งแรกๆที่ผมเห็นใน website ผมคิดว่าคนพัฒนาโปรแกรมต้องเพี๊ยนสุดๆ ลองดูรูปจาก website ตัวโปรแกรมเป็น cross-platform มีให้ดาวน์โหลดใช้บน…

Continue Reading →

ทำไฟล์ Setup ด้วยโปรแกรม Inno Setup

Inno Setup จากที่มานั่งปัดฝุ่นโปรแกรมช่วยเขียนแบบรูปตัดตามขวาง (XSection Plot) และผมเองต้องทำไฟล์ setup เพื่อให้ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดไปติดตั้งได้เอง ก่อนหน้านี้ผมใช้ InstallShield ซึ่งใช้ทั้งเวอร์ชั่นฟรีบ้างและไม่ฟรีบ้าง ก็ลองมองหาตัวใหม่ที่ใช้งานได้ง่ายๆและที่สำคัญต้องฟรี น้องที่สำนักงานแนะนำให้ใช้ Inno Setup เนื่องจากเป็นของฟรี ลองดาวน์โหลดติดตั้งดู ปรากฏว่าต้องเขียน scripts ความรู้สึกแรกมันต้องยากแน่ๆ…

Continue Reading →

โปรแกรมเขียนแบบรูปตัดตามขวาง (XSection Plot) สำหรับช่างสำรวจ/ช่างโยธา ตอนที่ 3 (ตอนจบ)

การพรีวิวรูปตัด (Depth Viewer) มาถึงตอนสุดท้าย เรามาดู preview รูปตัดกันก่อน เมื่อดูแล้วผลลัพธ์อาจไม่ตรงกับที่ต้องการ สามารถกลับไปแก้ไขข้อมูลได้เช่น มาตราส่วน ปรับเพิ่มลดรูปตัดในพอดีกับขนาดกระดาษ เมื่อดูแล้วเป็นที่พอใจ สามารถ Export หรือ Save เป็น Autocad DXF ท้ายที่สุดแล้วยังสามารถตามไปแก้ไขรูปตัดได้ใน…

Continue Reading →

โปรแกรมเขียนแบบรูปตัดตามขวาง (XSection Plot) สำหรับช่างสำรวจ/ช่างโยธา ตอนที่ 2 (ฟรี)

ป้อนข้อมูลโครงการเพื่อเขียน Title Block โปรแกรม XSection Plot จะเขียน Title Block ลงไปในไฟล์ DXF ด้วย ซึ่งรูปแบบ Tible Block โปรแกรมจะเตรียมมาให้ประมาณ 4-5 แบบ ซึ่งสามารถไปแก้ไขภายหลังได้ใน Autocad…

Continue Reading →